Get Adobe Flash player
เมนูหลัก
วัดทรงเสวย บน Facebook
ส้มฉุน ศิษย์วัดทรงเสวย
ข่าวประชาสัมพันธ์
สถิติเว็บไซต์

webadmin

00

ขอเชิญร่วมพิธีวางศิลาฤกษ์ (อาคารเรียน มนตรี ศิริวัฒนาวรากร)
โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดทรงเสวย จ.ชัยนาท
ในวันที่ ๒๐ กรกฏาคม ๒๕๕๙ เวลา ๐๗.๓๙ น.
ณ บริเวรสร้างอาคารฯวัดทรงเสวย ต.หนองน้อย อ.วัดสิงห์ จ.ชัยนาท

ขอเชิญร่วมสร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดทรงเสวย จ.ชัยนาท
(อาคารเรียน มนตรี ศิริวัฒนาวรากร)

อ.มนตรี ศิริวัฒนาวรากร
(ประธานอุปถัมภ์ในการก่อสร้าง บริจาค ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท)

ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ วัดทรงเสวย หรือ บริจาคตามกำลังศรัทธา
โทร. 056-943-034 , 091-990-6909 , 093-171-3257

สมทบทุนผ่านบัญชี
ธ.กรุงไทย “วัดทรงเสวย” เลขที่ 106-041383-3
ธ.เพื่อการเกษตรและสหกรณ์ “สมทบทุนบูรณะวัดทรงเสวย” เลขที่ 020-00876381-4

13511031_744161269020979_5176441220152257377_n
13535631_744156889021417_2051950803_n

00

ขอเรียนเชิญร่วมพิธีเทวาภิเสก รูปล็อกเก็ต
“แม่ตะเคียนทองคู่วัดทรงเสวย”
และพิธีบูชาเจ้าแม่ตะเคียน ขอโชคลาภ
วันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๙
ณ วัดทรงเสวย จ.ชัยนาท

เชิญชม!
ลิเกแก้บน คณะสิงเสงี่ยม
โดย อ.มนตรี ศิริวัฒนาวรากร

สั่งจองบูชาวัตถุมงคลได้ที่
09-1990-6909 , 09-3171-3257
(รับวัตถุมงคลด้านหน้างาน)

13511516_741783292592110_1884318942_n

00

ขอเชิญ
ร่วมสร้างห้องน้ำ ถวายวัดทรงเสวย จ.ชัยนาท
เจ้าภาพห้องละ ๑๕,๐๐๐ บาท

ใครอยากไม่มีทุกข์ ไม่มีโรค ไม่อยากมีอันตราย
ขอเชิญสร้างห้องน้ำถวาย

ติดต่อสมทบทุนบริจาคได้ที่ 09-1990-6909
หรือร่วมบริจาคทรัพย์ตามกำลังศรัทธา

13492885_739982179438888_793103515_n

ขอโชคลาภเจ้าแม่ตะเคียนคู่วัดทรงเสวย ศักดิ์สิทธิ์จริง

00

02

 ขอโชคลาภเจ้าแม่ตะเคียนคู่วัดทรงเสวย ศักดิ์สิทธิ์จริงที่
วัดทรงเสวย ต.หนองน้อย อ.วัดสิงห์ จ.ชัยนาท
เป็นวัดที่รู้จักกันดีว่า เมื่อครั้งหนึ่งรัชกาลที่ ๕ เสด็จประพาสต้นที่วัดทรงเสวย
แต่เดิมเป็นวัดร่าง สมัยอยุธยา มีชื่อเดิมว่าวัดเกสร ก่อตั้งขึ้นโดย
พระอธิการคล้อย ธมฺมนิยํ และชาวบ้านหนองแค
ภายหลังพระอธิการคล้อย ธมฺมนิยํ ท่านได้ตั้งชื่อวัดว่า วัดราษฎร์เจริญธรรม
แต่ชาวบ้านเรียกกันติดปากว่าวัดหนองแค ตามชื่อหมู่บ้านมากกว่า
ต่อมาเมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๑ (ร.ศ. ๑๒๗)พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.๕
เสด็จพระราชดำเนิน ตรวจสอบลำน้ำเก่า โดยทางรถไฟถึง จ.นครสวรรค์
ต่อจากนั้นในวันรุ่งขึ้น เสด็จ ฯ ตามลำน้ำมะขามเฒ่าผ่านตลาดวัดสิงห์ ลำน้ำมะขามเฒ่า
สมัยนั้นเต็มไปด้วยผักตบชวา และตอไม้ ประชาชนจึงได้ช่วยกัน ตัดตอไม้ และเก็บผักตบชวา
พระองค์ประทับแรมที่ ณ บ้านหนองแค ซึ่งสมัยนั้นขึ้นกับ
ตำบลคลองจันทร์ อำเภอเดิมบาง เมืองไชยนาท
(ปีพุทธศักราช๒๔๕๒ ได้เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นตำบลวัดสิงห์ อำเภอวัดสิงห์ เมืองไชยนาท)

ในครั้งนั้น พระอธิการคล้อยเป็นเจ้าอาวาส ได้ชักชวนราษฎร์ สร้างพลับพลารับเสด็จ
พระองค์ทรงมีพระราชประสงค์ เสวยยอดหวายโปง ตาแป้น มรรคนายกวัดหนองแค
(ภายหลังทรงตั้งให้ตาแป้น ดำรงตำแหน่งหมื่นสมาน ขุนมาส)
จึงได้ให้ชาวบ้านไปหายอดหวายโปงมาเผาไฟ
หยวกกล้วยต้ม น้ำพริกปลามัจฉะมาถวาย พระองค์ทรงเสวย
อย่างเจริญพระกระยาหาร และตรัสกับชาวบ้านว่า
ต่อไปนี้ให้เรียกวัดนี้ว่า วัดเสวย แต่ชาวบ้านได้ขอพระราชทาน
ขอเติมคำว่า “ทรง” ไปด้วย พระองค์ทรงพระอนุญาต
ชาวบ้านจึงเรียกวัดนี้ว่า “วัดทรงเสวย” จนทุกวันนี้

และเมื่อปีพ.ศ.๒๔๕๒ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช (พระโอรสองค์ที่ ๗๕)
ประชวรด้วยโรคไส้ตัน สิ้นพระชนม์ด้วยวัยเพียง ๑๗ พรรษา
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.๕ ทรงมีรับสั่งให้
บูรณะวัดทรงเสวย ถวายเป็นพระราชกุลแด่ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช
และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.๕ ได้ถวายของที่ระลึก
แด่พระอธิการคล้อย เป็นของที่ระลึกงาน
พระศพของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช ของที่ถวาย
ได้แก่ บาตร ฝาบาตรมีตราสีทองรูปวงรี
มีข้อความว่า ร.ศ. ๑๒๘ งานพระศพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช ปิ่นโตขนาดใหญ่ที่ฝาปิ่นโต
มีข้อความเช่นเดียวกับฝาบาตร พระขรรค์ ตาลปัตรใบลาน
ตะเกียงลานเรือสำปั้น ป้านน้ำชา ๑ ชุด
ปัจจุบันทางวัดยังเก็บรักษาไว้อย่างดีภายในพิพิธภัณฑ์วัดทรงเสวย
ด้านข้างพิพิธภัณฑ์นั้นมีหนึ่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์นั้นก็คือ ต้นตะเคียนขนาดใหญ่มาก ยืนต้น
เป็นต้นตะเคียนคู่วัดเลยก็ว่าได้ จากการเล่าขานของชาวบ้านคนเฒ่าคนแก่ภายในหมู่บ้านวัดทรงเสวยกันว่า
ในสมัยนั้นภายในวัดทรงเสวย เต็มไปด้วยป่า กลางค่ำกลางคืนก็มืดหน้ากลัวมาก
จึงไม่มีใครกล้าผ่านเข้าที่วัดทรงเสวยในเวลากลางค่ำกลางคืน แต่ก็เป็นที่หน้าแปลกพอถึงช่วงหวยใกล้จะออก
ก็จะมีชาวบ้านทั่วทุกทิศมาขอโชคลาภที่วัดทรงเสวย โดยจะนำแป้งมาทาที่โคลนต้นเพื่อหาเลข
แล้วก็ไปซื้อตามที่ได้มา สำหรับความศักดิ์สิทธิ์ที่จะพูดต่อไปนี้ โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่าน
เพราะเป็นความเชื่อของชาวบ้านมาตั้งแต่มีเรื่องเล่าในวัดทรงเสวยขึ้นมา
สมัยแรกๆนั้นยังเป็นต้นตะเคียนธรรมดาไม่ใหญ่โตอะไร
พอเวลาผ่านในสมัยของหลวงปู่ย้อย(ศิษย์ของหลวงปู่ศุข)
ชาวบ้านจะขนาดนามท่านว่าเทพเจ้าแห่งวาจาสิทธิ์
เริ่มมีการพูดถึงว่ามีคนเห็นผู้หญิงรูปร่างสวยงาม
แต่งชุดไทยสวยงาม อยู่บริเวณต้นตะเคียนแห่งนั้น
เริ่มมีการไปเข้าฝันให้โชคคนในหมู่บ้าน หลายครั้งหลายหน
บางครั้งที่วัดมีโจรฉุกชุมบางก็เห็นผู้รูปร่างใหญ่โต
ในบริเวณวัดให้เห็นบ้าง ก็โดนกันไปหลายรายเลยทีเดียว
เรื่องความให้โชคลาภก็มีผู้คนมาแก้บนเป็นชุดไทย
(ชุดไทยในสมัยนั้นพุพังไปตามกาลและเวลา)
พอเวลาผ่านไปความเจริญก้าวเข้ามาก็มีบ้านเรื่อนปลูกอยู่บริเวณนั้น
แต่ก็เป็นที่หน้าแปลก…ก็อยู่กันไม่ได้นานจึงต้องปล่อยให้บ้านนั้นรกล้างไปตามกาลเวลา
ในเวลาต่อมาก็มีการสร้างพิพิธภัณฑ์ในบริเวณนั้นเพื่อเป็นสถานที่จัดแสดงของที่รัชกาลที่๕
พระราชทานให้กับวัดทรงเสวย และด้วยความที่ต้นตะเคียนมีขนาดใหญ่ขึ้นมาตามกาลเวลา
ชาวบ้านและมรรคทายกจึงคุยกันว่าจะต้องโคลนต้นตะเคียนเพราะกลัวกิ่งไม้จะหักลงมา
แต่ความศักดิ์สิทธิ์ของแม่ตะเคียน…ก็ไปเข้าฝันคนในหมู่บ้าน จากการเล่าขานมา
มีผู้หญิงแต่งตัวสวยงาม ผมยาวถึงเอว มาเข้าฝัน พอรุ่งเช้าชาวบ้านก็มาปรึกษาหลวงพ่อที่วัด
หลวงพ่อย้อยในสมัยนั้นเป็นเจ้าอาวาสและท่านยังเป็นศิษธิ์ของหลวงปู่ศุข
ท่านก็นั่งหลับตาไปสักพักใหญ่ แล้วท่านก็ลืมตาขึ้น แล้วก็บอกว่าไม่ต้องตัดหลอก
ที่ตรงนั้นมีรุกขเทวดาประจำอยู่(หลวงพ่อพูด) หลังจากนั้นมาต้นตะเคียน
ก็มีแต่ให้โชคให้ลาภกับผู้ที่ผ่านไปขอโดยตลอด
ปัจจุบันนี้ก็ยังมีนักเสี่ยงโชคไปขอเลขเด็ดกันเป็นประจำ
จากการสอบถามร้านค้าใกล้เคียงก็บอกว่าถูกหวยบ่อยครั้ง มากบ้างน้อยบ้างไม่เท่ากัน
รวมไปถึงพนักงานที่อยู่ภายในพิพิธภัณฑ์ก็ฝันเห็นเลขกันบ่อยครั้ง
นี้เป็นเพียงเรื่องเล่าบ้างส่วนที่เก็บมาเล่า ถ้าท่านอยากสัมผัสก็ต้องมาด้วยตัวท่านเอง
ที่วัดทรงเสวย ต.หนองน้อย อ.วัดสิงห์ จ.ชัยนาท และที่สำคัญเมื่อท่านได้ในสิ่งที่ท่านปรารถนาแล้ว
อย่าลืมมาแก้บน ด้วยการถวายสังฆทานภายในโบสถ์วัดทรงเสวย
อันเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัดทรงเสวย เพื่อเป็นการอุทิศผลบุญกุศลให้กับเจ้าแม่ตะเคียน
และจะส่งเสริมบุญบารมีให้ตัวท่านเองอีกด้วย…

01
03
04
05
06
07
08
09
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20

ขอโชคลาภเจ้าแม่ตะเคียนคู่วัดทรงเสวย ศักดิ์สิทธิ์จริง

02

 ขอโชคลาภเจ้าแม่ตะเคียนคู่วัดทรงเสวย ศักดิ์สิทธิ์จริงที่วัดทรงเสวย ต.หนองน้อย อ.วัดสิงห์ จ.ชัยนาท
เป็นวัดที่รู้จักกันดีว่า เมื่อครั้งหนึ่งรัชกาลที่ ๕ เสด็จประพาสต้นที่วัดทรงเสวย
แต่เดิมเป็นวัดร่าง สมัยอยุธยา มีชื่อเดิมว่าวัดเกสร ก่อตั้งขึ้นโดยพระอธิการคล้อย ธมฺมนิยํ และชาวบ้านหนองแค
ภายหลังพระอธิการคล้อย ธมฺมนิยํ ท่านได้ตั้งชื่อวัดว่า วัดราษฎร์เจริญธรรม แต่ชาวบ้านเรียกกันติดปากว่าวัดหนองแค ตามชื่อหมู่บ้านมากกว่า
ต่อมาเมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๑ (ร.ศ. ๑๒๗)พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.๕
เสด็จพระราชดำเนิน ตรวจสอบลำน้ำเก่า โดยทางรถไฟถึง จ.นครสวรรค์
ต่อจากนั้นในวันรุ่งขึ้น เสด็จ ฯ ตามลำน้ำมะขามเฒ่าผ่านตลาดวัดสิงห์ ลำน้ำมะขามเฒ่า
สมัยนั้นเต็มไปด้วยผักตบชวา และตอไม้ ประชาชนจึงได้ช่วยกัน ตัดตอไม้ และเก็บผักตบชวา
พระองค์ประทับแรมที่ ณ บ้านหนองแค ซึ่งสมัยนั้นขึ้นกับ ตำบลคลองจันทร์ อำเภอเดิมบาง เมืองไชยนาท
(ปีพุทธศักราช๒๔๕๒ ได้เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นตำบลวัดสิงห์ อำเภอวัดสิงห์ เมืองไชยนาท)

ในครั้งนั้น พระอธิการคล้อยเป็นเจ้าอาวาส ได้ชักชวนราษฎร์ สร้างพลับพลารับเสด็จ
พระองค์ทรงมีพระราชประสงค์ เสวยยอดหวายโปง ตาแป้น มรรคนายกวัดหนองแค
(ภายหลังทรงตั้งให้ตาแป้น ดำรงตำแหน่งหมื่นสมาน ขุนมาส) จึงได้ให้ชาวบ้านไปหายอดหวายโปงมาเผาไฟ
หยวกกล้วยต้ม น้ำพริกปลามัจฉะมาถวาย พระองค์ทรงเสวยอย่างเจริญพระกระยาหาร และตรัสกับชาวบ้านว่า
ต่อไปนี้ให้เรียกวัดนี้ว่า วัดเสวย แต่ชาวบ้านได้ขอพระราชทาน ขอเติมคำว่า “ทรง” ไปด้วย พระองค์ทรงพระอนุญาต
ชาวบ้านจึงเรียกวัดนี้ว่า “วัดทรงเสวย” จนทุกวันนี้

และเมื่อปีพ.ศ.๒๔๕๒ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช (พระโอรสองค์ที่ ๗๕)
ประชวรด้วยโรคไส้ตัน สิ้นพระชนม์ด้วยวัยเพียง ๑๗ พรรษา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.๕ ทรงมีรับสั่งให้
บูรณะวัดทรงเสวย ถวายเป็นพระราชกุลแด่ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช
และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.๕ ได้ถวายของที่ระลึก แด่พระอธิการคล้อย เป็นของที่ระลึกงาน
พระศพของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช ของที่ถวาย ได้แก่ บาตร ฝาบาตรมีตราสีทองรูปวงรี
มีข้อความว่า ร.ศ. ๑๒๘ งานพระศพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช ปิ่นโตขนาดใหญ่ที่ฝาปิ่นโต
มีข้อความเช่นเดียวกับฝาบาตร พระขรรค์ ตาลปัตรใบลาน ตะเกียงลานเรือสำปั้น ป้านน้ำชา ๑ ชุด
ปัจจุบันทางวัดยังเก็บรักษาไว้อย่างดีภายในพิพิธภัณฑ์วัดทรงเสวย
ด้านข้างพิพิธภัณฑ์นั้นมีหนึ่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์นั้นก็คือ ต้นตะเคียนขนาดใหญ่มาก ยืนต้น
เป็นต้นตะเคียนคู่วัดเลยก็ว่าได้ จากการเล่าขานของชาวบ้านคนเฒ่าคนแก่ภายในหมู่บ้านวัดทรงเสวยกันว่า
ในสมัยนั้นภายในวัดทรงเสวย เต็มไปด้วยป่า กลางค่ำกลางคืนก็มืดหน้ากลัวมาก
จึงไม่มีใครกล้าผ่านเข้าที่วัดทรงเสวยในเวลากลางค่ำกลางคืน แต่ก็เป็นที่หน้าแปลกพอถึงช่วงหวยใกล้จะออก
ก็จะมีชาวบ้านทั่วทุกทิศมาขอโชคลาภที่วัดทรงเสวย โดยจะนำแป้งมาทาที่โคลนต้นเพื่อหาเลข
แล้วก็ไปซื้อตามที่ได้มา สำหรับความศักดิ์สิทธิ์ที่จะพูดต่อไปนี้ โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่าน
เพราะเป็นความเชื่อของชาวบ้านมาตั้งแต่มีเรื่องเล่าในวัดทรงเสวยขึ้นมา
สมัยแรกๆนั้นยังเป็นต้นตะเคียนธรรมดาไม่ใหญ่โตอะไร
พอเวลาผ่านในสมัยของหลวงปู่ย้อย(ศิษย์ของหลวงปู่ศุข)ชาวบ้านจะขนาดนามท่านว่าเทพเจ้าแห่งวาจาสิทธิ์
เริ่มมีการพูดถึงว่ามีคนเห็นผู้หญิงรูปร่างสวยงามแต่งชุดไทยสวยงาม อยู่บริเวณต้นตะเคียนแห่งนั้น
เริ่มมีการไปเข้าฝันให้โชคคนในหมู่บ้าน หลายครั้งหลายหน บางครั้งที่วัดมีโจรฉุกชุมบางก็เห็นผู้รูปร่างใหญ่โต
ในบริเวณวัดให้เห็นบ้าง ก็โดนกันไปหลายรายเลยทีเดียว เรื่องความให้โชคลาภก็มีผู้คนมาแก้บนเป็นชุดไทย
(ชุดไทยในสมัยนั้นพุพังไปตามกาลและเวลา)พอเวลาผ่านไปความเจริญก้าวเข้ามาก็มีบ้านเรื่อนปลูกอยู่บริเวณนั้น
แต่ก็เป็นที่หน้าแปลก…ก็อยู่กันไม่ได้นานจึงต้องปล่อยให้บ้านนั้นรกล้างไปตามกาลเวลา
ในเวลาต่อมาก็มีการสร้างพิพิธภัณฑ์ในบริเวณนั้นเพื่อเป็นสถานที่จัดแสดงของที่รัชกาลที่๕
พระราชทานให้กับวัดทรงเสวย และด้วยความที่ต้นตะเคียนมีขนาดใหญ่ขึ้นมาตามกาลเวลา
ชาวบ้านและมรรคทายกจึงคุยกันว่าจะต้องโคลนต้นตะเคียนเพราะกลัวกิ่งไม้จะหักลงมา
แต่ความศักดิ์สิทธิ์ของแม่ตะเคียน…ก็ไปเข้าฝันคนในหมู่บ้าน จากการเล่าขานมา
มีผู้หญิงแต่งตัวสวยงาม ผมยาวถึงเอว มาเข้าฝัน พอรุ่งเช้าชาวบ้านก็มาปรึกษาหลวงพ่อที่วัด
หลวงพ่อย้อยในสมัยนั้นเป็นเจ้าอาวาสและท่านยังเป็นศิษธิ์ของหลวงปู่ศุข
ท่านก็นั่งหลับตาไปสักพักใหญ่ แล้วท่านก็ลืมตาขึ้น แล้วก็บอกว่าไม่ต้องตัดหลอก
ที่ตรงนั้นมีรุกขเทวดาประจำอยู่(หลวงพ่อพูด) หลังจากนั้นมาต้นตะเคียน
ก็มีแต่ให้โชคให้ลาภกับผู้ที่ผ่านไปขอโดยตลอด
ปัจจุบันนี้ก็ยังมีนักเสี่ยงโชคไปขอเลขเด็ดกันเป็นประจำ
จากการสอบถามร้านค้าใกล้เคียงก็บอกว่าถูกหวยบ่อยครั้ง มากบ้างน้อยบ้างไม่เท่ากัน
รวมไปถึงพนักงานที่อยู่ภายในพิพิธภัณฑ์ก็ฝันเห็นเลขกันบ่อยครั้ง
นี้เป็นเพียงเรื่องเล่าบ้างส่วนที่เก็บมาเล่า ถ้าท่านอยากสัมผัสก็ต้องมาด้วยตัวท่านเอง
ที่วัดทรงเสวย ต.หนองน้อย อ.วัดสิงห์ จ.ชัยนาท และที่สำคัญเมื่อท่านได้ในสิ่งที่ท่านปรารถนาแล้ว
อย่าลืมมาแก้บน ด้วยการถวายสังฆทานภายในโบสถ์วัดทรงเสวย
อันเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัดทรงเสวย เพื่อเป็นการอุทิศผลบุญกุศลให้กับเจ้าแม่ตะเคียน
และจะส่งเสริมบุญบารมีให้ตัวท่านเองอีกด้วย…

01
03
04
05
06
07
08
09
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20

00

ขอเชิญร่วมโครงการเจริญพระพุทธมนต์และเจริญจิตภาวนา
ถวายพระพรชัยมงคล เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล

แด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

ณ วัดทรงเสวย
ต.หนองน้อย อ.วัดสิงห์ จ.ชัยนาท
วันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๕๙

13081621_715949621842144_85255270_n

00

ขอเชิญร่วมรับเป็นเจ้าภาพโรงทาน โครงการอิ่มบุญอิ่มท้อง วัดทรงเสวย จ.ชัยนาท

ขอเชิญเป็นเจ้าภาพโรงทาน อาหาร เสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ ณ วัดทรงเสวย
ในโครงการอิ่มบุญอิ่มท้อง วันละ ๓,๐๐๐ บาท

ติดต่อสอบถามการรับเป็นเจ้าภาพได้ที่
091-990-6909 , 093-227-7996
หรือ 093-171-3257

หรือ วัดทรงเสวย ต.หนองน้อย อ.วัดสิงห์ จ.ชัยนาท

วันที่ขาดเจ้าภาพโรงทาน ประจำเดือนพฤษภาคม 2559
คือวันที่ 3,4,5,11,12,17,18,24,25,31 ธันวาคม 2559

15073550_830104563759982_4026612749316554679_n

13059642_712338305536609_1759624472_n

01

ขอเชิญร่วมงานประจำปีปิดทอง
หลวงพ่อทอง – หลวงปู่คล้อย – หลวงปู่ย้อย
ณ วัดทรงเสวย จ.ชัยนาท

และเชิญร่วมสมทบทุนทอดผ้าป่า
ซื้อที่ดินถวายวัด กองละ ๙๙ บาท

๑๓ เม.ษ. ๕๙
– เวลา ๑๖.๐๐ น. พระสงฆ์ ๑๐ รูป เจริญพระพุทธมนต์ เปิดงาน ณ วิหารสมเด็จโต
– กลางคืนสนุกกับ รำวงย้อยยุค ผู้ใหญ่ไพรัช คอมโบ้ , ชมภาพยนต์จอยักษ์ , ร่วมลุ้นกับตักไข่ปลาพาโชค

๑๔ เม.ษ. ๕๙
– เวลา ๐๘.๓๐ น. พิธีเปิดงานกีฬาพื้นบ้าน และแข่งขัน เจ้าตำหรับน้ำพริกปลามัจฉะ
– เวลา ๑๕.๐๐ น. พิธีถวายผ้าป่าประเพณีสงกรานต์
– เวลา ๑๕.๓๙ น. พิธีสรงน้ำพระ
– กลางคืนสนุกกับ รำวงย้อนยุค , ชมภาพยนต์จอยักษ์ , ร่วมลุ้นกับตักไข่ปลาพาโชค , และชมการแข่งขันตะกร้อลอดบ่วง

ติดต่อสอบถามรายละเอียดโทร
056-943034
จัดโดยกรรมการวัด

12751741_684105355026571_405188407_o

หลวงพ่อทอง
หลวงพ่อทอง
เจ้าอาวาส
เจ้าอาวาส
สถานที่ภายในวัด